Google

วันอังคารที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2558

Baby elephant training chiangmai

Baby elephant chiangmai แสนน่ารัก ที่พร้อมยินดีต้อนรับ นักท่องเที่ยวเช่นคุณ วันนี้กับทัวร์ช้างแสนพิเศษที่รับรองว่าคุณต้องประทับใจอย่างแน่นอน ทริปท่องเที่ยวทัวร์ช้างสุดพิเศษ เที่ยวชมชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านและช้างไทยตามสไตล์แบบธรรมชาติ คุณจะได้เจอกับ Baby elephant chiangmai ที่จะทำให้คุณประทับใจกับการมาทริปครั้งนี้อย่างแน่นอน

Elephant Chiangmai การท่องเที่ยวแบบดูการแสดงของช้างต่าง ๆ หลายที่จะมีให้เห็นแบบทั่วไป หากท่านต้องการความแปลกใหม่ของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และใกล้ชิดกับสัตว์ป่าที่มีรูปร่างขนาดใหญ่ หรือที่ทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ขนานนามให้ว่าเป็นเจ้าแห่งพงไพร ที่ตัวใหญ่ดุดัน การท่องงเที่ยวที่เราจะพาทุกท่านไป Elephant Riding, Elephant Training , Elephant Chiangmai นั่น จะเป็นทริปที่ทุกท่าน ที่รักและชื่นชอบในการท่องเที่ยวและอนุรักษ์ช้างนั้น ต้องมีความหลงใหลและชื่นชอบอย่างแน่นอน เพราะท่านจะได้สัมผัสและชื่นชอบช้างไทย อย่างใกล้ชิด รับรองว่าทริปนี้ท่านจะได้ความสนุกและเป็นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่ไม่ได้ส่งเสริมให้มีการทำร้ายช้างแต่อย่างใด โดยท่านที่ต้องการท่องเที่ยวทริปนี้ไปกับเราท่านสามารถเลือก Package การท่องเที่ยวทริปนี้ได้จากใน เว็บไซต์ของเรา www.rakchangelephanttraining.com และเราขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความร่วมมือและร่วมท่องเที่ยวทริปนี้ไปกับเรา กับ Elephant Chiangmai และ Rak Chang Elephant training.com baby elephant training, elephant chiangmai, Elephant Training Trip, elephant chiangmai travel, baby elephant chiangmai

Elephant Trainning
 ความสำคัญของช้างไทย - ช้างเป็นสัตว์คู่บารมีของพระมหากษัตริย์ไทย ช้างเป็นสัตว์ที่ดำรงอยู่คู่กับประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สยามประเทศเคยใช้ธงชาติเป็นรูปช้างเผือก ชาวไทยเชื่อกันว่าช้างเผือกเป็นสัตว์คู่บารมีของพระมหากษัตริย์ ช้างเผือกจึงได้รับการยกย่องเสมือนเจ้านายชั้นเจ้าฟ้า - ช้างเป็นผู้ปกป้องเอกราชแห่งชาติไทย ประวัติศาสตร์ชาติไทยได้จารึกไว้ว่าช้างได้เข้ามามีส่วนในการปกป้องเอกราชและความเป็นชาติให้แก่ชาวไทยหลายยุคหลายสมัย ในสมัยกรุงธนบุรีพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชก็ทรงรวบรวมชายไทยให้เป็นปึกแผ่นและมั่นคงบนหลังช้างทรงพระที่นั่ง และในสมัยพระบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราชก็ได้ทรงประกาศเอกราชและความเป็นชาติของคนไทยบนหลังช้างทรงพระที่นั่งด้วยเช่นกัน ซึ่งช้างทรงในสมเด็จพระนเรศวรนับว่าเป็นช้างไทยที่ได้รับเกียรติอันสูงสุด โดยจากความกล้าหาญในสมรภูมิรบ ทำให้ช้างไทยเชือกนี้ได้รับพระราชทานยศให้เป็นถึง "เจ้าพระยาปราบหงสาวดี" - ช้างใช้ในพระราชพิธีสำคัญต่างๆ การสร้างสรรค์วัฒนธรรมที่ดีงามของชาติไทยในอดีตกาลนั้นล้วนแต่ได้ช้างเข้ามามีส่วนร่วมอยู่ด้วยทั้งสิ้น เมื่อประมาณ 200 กว่าปีที่ผ่านมา ก็ได้ช้างเข้ามาเป็นแรงงานสำคัญอีกเช่นกัน เมื่อแรกเริ่มการตั้งกรุงรัตนโกสินทร์นั้นช้างคือพาหนะสำคัญที่อัญเชิญพระพุทธมณีรัตนปฏิมากรแก้วมรกตมาสถิตย์ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม นอกจากนี้ในงานพระราชพิธีต่างๆ อาทิ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา งานพระราชพิธีฉัตรมงคล หรือในงานพระราชทานงานเลี้ยงเพื่อเป็นเกียรติแก่พระราชอาคันตุกะหรือประมุขของต่างประเทศที่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท จะต้องนำช้างเผือกแต่งเครื่องคชาภรณ์ไปยืนที่แท่นเกยช้างด้านตะวันตกของพระที่นั่งดุสิตาภิรมย์ในพระบรมมหาราชวังเพื่อประกอบพระเกียรติยศ - ช้างสร้างความสัมพันธ์ไมตรีระหว่างประเทศ ในสมัยรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสสิงคโปร์ และเบตาเวีย (จาการ์ตา) ประเทศอินโดนีเซีย ได้พระราชทานช้างสำริดให้แก่ทั้ง 2 ประเทศนี้ - ช้างใช้เป็นพาหนะในการคมนาคม ในยุคสมัยที่การคมนาคมยังไม่เจริญเทียบเท่ากับในปัจจุบัน มนุษย์ยังไม่ได้มีการพัฒนาเครื่องจักรต่างๆ สำหรับนำมาใช้เป็นเครื่องทุ่นแรงเพื่อการขนส่งของ ช้างคือพาหนะที่ดีและมีประสิทธิภาพที่สุดสำหรับมนุษย์ เนื่องจากช้างเป็นสัตว์ใหญ่มีความเฉลียวฉลาดและมีพละกำลังมหาศาล ช้างจึงสามารถขนส่งสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ในปริมาณมากได้อย่างอดทน - ช้างใช้ในการอุตสาหกรรมทำไม้ การใช้ช้างทำไม้ในประเทศไทยเริ่มตั้งแต่การล้มไม้ การทอนไม้ซุง การขนส่งไม้จนถึงโรงงานหรือตลาดการค้า ในแง่ของการอนุรักษ์ป่าไม้ และระบบการจัดการป่าไม้ในประเทศไทย การใช้ช้างชักลากไม้ นับว่าเหมาะสมมาก เพราะช้างสามารถเดินไปได้โดยไม่ทำลายกล้าไม้ต้นเล็กๆ ไม่ทำให้ดินแน่น ไม่ต้องตัดถนนหนทางให้มากเส้น นอกจากนี้ช้างยังขึ้นเขาได้ดี และมีอายุการใช้งานนานถึง 50 ปี ในปัจจุบัเมื่อมนุษย์ได้มีการพัฒนาเครื่องจักรและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ความนิยมในการใช้แรงงานจากช้างจึงค่อยๆ ลดลง แต่ช้างก็ยังคงเป็นสัตว์ที่คนไทยทั้งชาติให้ความสำคัญเสมอดังนั้นรัฐบาลไทยจึงได้กำหนดให้ช้างเผือกเป็นสัตว์สัญลักษณ์ของชาติ โดยกำหนดให้ทุกวันที่ 13 มีนาคมของทุกปีเป็นวันช้างไทย 

ความสำคัญของช้างต่อประวัติศาสตร์ชาติไทย ข้อความที่ปรากฎอยู่ในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่หนึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าในสมัยที่กรุงสุโขทัยเป็นราชธานีนั้น "ช้าง" คือขุนพลที่ร่วมรบอยู่ในสมรภูมิจนมีชัยชนะ อีกทั้งพระมหากษัตริย์ทรงประทับช้างนำราษฎรไปบำเพ็ญกุศลตามพระอารามในอรัญญิก จะเห็นได้ว่าทั้งในยามศึกและยามสงบช้างอยู่คู่แผ่นดินสุโขทัยเรื่อยมา ช้างมีความสำคัญมากถึงเพียงนี้ จึงมีการสอนวิชาขับขี่ช้างซึ่งเป็นวิชาสำคัญสำหรับเจ้านายและลูกผู้ดีเพื่อยังประโยชน์ในการใช้ช้างเป็นพาหนะและเตรียมการเพื่อศึกสงคราม ช้างใช้ในการศึกสงครามในอดีต ในสมัยโบราณ ช้างเป็นยุทธปัจจัยสำคัญของกองทัพเปรียบได้กับรถถังประจัญบานของนักรบในปัจจุบัน ทว่าชัยชนะที่ได้รับนั้นจะดูสง่างามกว่าหลายเท่า เพราะมนุษย์ที่นั่งอยู่บนคอช้างต้องเชี่ยวชาญอาวุธของ้าว ใช้ความกล้าหาญไสช้างแต่ละเชือกพุ่งตรงเข้ารบปะทะกันตัวต่อตัว ช้างต่อช้างเข้าชนกันนั้น หากช้างของผู้ใดมีความสามารถมากกว่าก็จะงัดช้างศัตรูขึ้นด้วยงาจนแหงนหงาย หรือเบนบ่ายจนได้ที เพื่อให้แม่ทัพบนคอช้างส่งอาวุธเข้าจ้วงฟันคู่ต่อสู้ ช้างกับนักรบบนคอช้างจึงต้องมีกำลังแข็งแรงฝีมือเข้มแข็ง ทั้งคู่จึงจะได้ชัยชนะมาประดับเป็นเกียรติยศพระเจ้าแผ่นดิน การรบบนช้างหรือที่เรียกว่า ยุทธหัตถี นั้น เกิดขึ้นไม่บ่อยนักในประวัติศาสตร์ไทย แต่ครั้งสำคัญที่สุด ซึ่งคนไทยยังกล่าวขวัญจดจำไม่รู้ลืม คือ การยุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยาและพระมหาอุปราชาแห่งหงสาวดี ที่ตำบลหนองสาหร่าย แขวงเมืองสุพรรณบุรี เมื่อปีพุทธศักราช 2135 หรือกว่า 400 ปีล่วงมาแล้ว 

Baby elephant chiangmai
ที่มาของวันช้างไทย เกิดจากการริเริ่มของคณะอนุกรรมการประสานงานการอนุรักษ์ช้างไทย ซึ่งเป็นหน่วยงานประสานงานองค์กรภาครัฐและเอกชนที่ทำงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์ช้างไทย ของคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เนื่องจากเล็งเห็นว่าหากมีการสถาปนาวันช้างไทยขึ้น ก็จะช่วยให้ประชาชนคนไทยหันมาสนใจช้าง รักช้าง หวงแหนช้าง ตลอดจนให้ความสำคัญต่อการให้ความช่วยเหลืออนุรักษ์ช้างมากขึ้น คณะอนุกรรมการฯ จึงได้พิจารณาหาวันที่เหมาะสม ซึ่งครั้งแรกได้พิจารณาเอาวันที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทำยุทธหัตถี มีชัยชนะเหนือพระมหาอุปราชา แต่วันดังกล่าวถูกนำมาใช้เป็นวันกองทัพไทยไปแล้ว จึงได้พิจารณาวันอื่น และเห็นว่าวันที่ 13 มีนาคม ซึ่งเป็นวันที่คณะกรรมการคัดเลือกสัตว์ประจำชาติ มีมติให้ช้างเผือกเป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทยนั้นมีความเหมาะสม จึงได้นำเสนอมติตามลำดับขั้นเข้าสู่คณะรัฐมนตรี โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์อีกทางหนึ่ง ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อ วันที่ 26 พฤษภาคม 2541 เห็นชอบให้วันที่ 13 มีนาคม เป็นวันช้างไทย และได้ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2541 ผลจากการที่ประเทศไทยมีวันช้างไทยเกิดขึ้น นับเป็นการยกย่องให้เกียรติว่าเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญอีกครั้ง นอกเหนือจากเกียรติที่ช้างเคยได้รับในอดีต ไม่ว่าจะเป็นช้างเผือกในธงชาติ หรือช้างเผือกที่เป็นสัญลักษณ์ของประเทศ หรือสัตว์คู่พระบารมี ของพระมหากษัตริย์ไทย


ทัวร์รักช้างของเรา เป็นทัวร์พิเศษที่ไม่เหมือนใคร ทัวร์ของเราจะเน้น การท่องเที่ยวตามธรรมชาติ ที่จะมีช้างเป็นเพื่อนระหว่างทริป คุณจะได้เห็นวิถีชีวิต แบบธรรมชาติระหว่างชาวบ้านและช้างไทย ที่จะอนุรักษ์ และอยู่ร่วมกันได้อย่างลงตัว เราถือว่าช้างเป็นสัตว์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองของไทยเรามาแต่ช้านาน คุณจะได้สัมผัส ช้างแบบใกล้ชิด พิเศษสุดๆ คุณจะได้เห็น Baby elephant chiangmai ที่แสนน่ารัก แสนรู้ที่จะคอยต้อนรับคุณในทริปนี้อย่างแน่นอน Baby elephant chiangmai ท่านจะได้พบกับวิถีชีวิตการใช้ชีวิต ที่แปลกใหม่แหวกแนว ไม่เหมือนใครด้วยวิถีชีวิตแบบคนโบราณที่ใช้ชีวิตกับเจ้าแห่งขุขเขาป่าดงพงไพร สัตว์ที่มีขนาใหญ่ สัวต์ที่มีประวัติศาสตร์ร่วมกับ ผืนแผ่นดินไทยมาอย่างยาวนานเป็นที่กล่าวขาน ขนานนามไปทั่วภูมิภาค ท่านจะได้สัมผัสกับบรรดาเหล่าช้างน้อย ลูกช้าง ที่กำลังซุกซน แสดงความน่ารักต่าง ๆ ซึ่งจะได้สัมผัสบรรยากาศแบบนี้แบบใกล้ชิด ทว่าเสมือนคนเลี้ยงช้างฝึกช้าง ให้อาหาร พาไปว่ายน้ำ บรรยากาศแบบนี้หาที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว How to train Baby elephant chiangmai ทริปที่เราจะพาทุกท่านไป นั่น จะเป็นทริปที่ทุกท่าน ที่รักและชื่นชอบในการท่องเที่ยวและอนุรักษ์ช้างนั้น ต้องมีความหลงใหลและชื่นชอบอย่างแน่นอน เพราะท่านจะได้สัมผัสและชื่นชอบช้างไทย อย่างใกล้ชิด รับรองว่าทริปนี้ท่านจะได้ความสนุกและเป็นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่ทำให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์กับอนุรักษ์สัตว์ป่า อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมป่าไม้ต้นน้ำลำธาร ให้คงอยู่ต่อไป
Baby elephant chiangmai



 CONTACT US Rak Chang Elephant Training Address : 27 Sanambinkao Suthep Muang Chiangmai 50200 Tel : 053-272087 ,091-0766254 ,086-9126463

วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

เที่ยวเชียงใหม่ 4 ถนนคนเดินเชียงใหม่

4 ถนนคนเดินเชียงใหม่ สถานที่ท่องเที่ยวยอดฮิตปี 2015 เที่ยวเชียงใหม่ สัมผัสบรรยากาศกลิ่นอายเอกลักษณ์ประเพณีวัฒนธรรมของ อาณาจักรล้านนา

ถ้ากล่าวถึงเชียงใหม่ใครต่อใครก็คงนึกถึงเมืองเหนือที่ประกอบไปด้วยวัฒนธรรมประเพณีอันเป็เอกลักษณ์ของชาวล้านนา สถานที่ท่องเที่ยวเชียงใหม่ ที่มีอยู่อย่างมากมาย เที่ยวเชียงใหม่ ครั้งเดียวไม่สามารถเที่ยวได้ทั่วถึง ต้องมากันหลาย ๆ รอบ หรือพักกันอยู่แบบยาว ๆ กันเลย ขนบธรรมเนียมประเพณีที่แตกต่าง ภาษาพูดที่ถือว่าเป็นเอกลักษณ์อย่างมาก ที่คนพื้นบ้านสื่อสารออกกับผู้มาเยือนได้อย่างไพเราะเสนาะหู หรืออาหารการกินที่มีความอร่อย ของกินเชียงใหม่ งานหัตถกรรม งานฝีมือต่าง ๆ ที่มีการทำขึ้นมาด้วยความประณีต หัตถกรรมพื้นบ้านที่สืบทอดกันมายาวนาน 10 สถานที่ท่องเที่ยวเชียงใหม่ เหล่านี้ถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวหลัก ๆ ของการ เที่ยวเชียงใหม่ ในปี 2015

- ถนนคนเดินท่าแพ

ถนนคนเดินท่าแพ ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมือง อาทิตย์ เทศบาลเชียงใหม่ จะปิดถนนส่วนหนึ่งในเชียงใหม่ เพื่อให้ชาวบ้านนำสินค้าหัตถกรรมมาวางขาย ถนนคนเดินที่นี่ได้รับความสนใจอย่างมากจากนักท่องเที่ยวชาวไทยจากทุกภาคและ ชาวต่างประเทศหลากหลายภาษาทั้งยุโรป เอเชีย ถนนคนเดินท่าแพ อยู่บริเวณประตูเมืองท่าแพต่อไปยังถนนราชดำเนิน เปิดเฉพาะวันอาทิตย์ เวลาประมาณ 17.00 - 22.00 น. เป็นแหล่งจำหน่ายสินค้าขนาดใหญ่ มีสินค้าให้เลือกสรรมากมายหลากหลายประเภท ทั้งสินค้าทางวัฒนธรรม เช่น สินค้าพื้นเมือง จำพวกเครื่องประดับตกแต่ง เสื้อผ้า ของที่ระลึก กระเป๋า ผ้าพันคอ โคมไฟ ฯลฯ หรือจะเป็นสินค้าแฟชั่นก็มีให้เห็นอยู่โดยทั่วไป รวมทั้งของกิน เช่น ขนมจีนน้ำเงี้ยว/น้ำยา ของทานเล่น โรตี ฯลฯ หากมาเยือนในช่วงอากาศหนาว ๆ เดินเที่ยวกาดกลางคืน ถนนคนเดินเชียงใหม่ก็เพลิดเพลินไปอีกแบบหนึ่ง ซึ่งที่นี่เป็นถนนคนเดินที่ใหญ่ที่สุดในเชียงใหม่และได้รับความสนใจอย่างมาก จากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ

- ถนนคนเดินวัวลาย

ถนนคนเดินวัวลาย ถนนคนเดินเชียงใหม่วัวลายเป็นเป็นถนนคนเดินยอดฮิตมากที่สุดแห่งหนึ่งของคนเชียงใหม่ นักท่องเที่ยวที่ขึ้นมารเชียงใหม่หากไม่สามารถเดินถนนคนเดินท่าแพใน วันอาทิตย์ก็มักจะมาเดินที่ถนนคนเดินวัวลายนี้ ถนนคนเดินวัวลายจะเปิดเฉพาะคืนวันเสาร์โดยจะทำการปิดถนนวัวลายที่ อยู่ใกล้กับประตูเมืองเชียงใหม่ มีความยาวเป็นหลักกิโลทำให้กว่าจะเดินไปกลับครบก็เมื่อยพอดู ถึงกระนั้นก็ตามถนนคนเดินนี้ก็เต็มไปด้วยนักท่องเที่ยวและคนท้องถิ่นเข้ามา จับจ่ายซื้อของกินรวมถึงซื้อของที่ระลึกต่างๆ ถนนคนเดินเชียงใหม่วัวลายมีชื่อเสียงในเรื่องของเครื่องเงินสลักลวดลายซึ่ง รู้จักกันดีในชื่อของ เครื่องเงินวัวลาย นักท่องเที่ยวจะมีโอกาสได้เห็นการสลักเครื่องเงินกันแบบสดๆริมทาง ซึ่งเมื่อมองย้อนอดีตไปจากหลักฐานเครื่องเงินวัวลายเริ่มต้นจากการสืบทอดมา ตั้งแต่ครั้งที่เชียงใหม่ได้ขอเจรจาช่างฝีมือมาจากทางพุกาม ประเทศพม่า และมีการสืบทอดกันเรื่อยมา โดยเฉพาะเครื่องเงินของบ้านศรีสุพรรณซึ่งอยู่ใกล้กับบริเวณวัดศรีสุพรรณ(วัด เงิน) เป็นช่างในคุ้มหลวงเมืองเชียงใหม่ในอดีต ในสมัยนั้นเกือบทุกบ้านจะมีโรงงานขนาดเล็กประจำอยู่ที่บ้าน เรียกว่า “เตาเส่า” นอกจากนักท่องเที่ยวจะได้เพลิดเพลินกับของกินและของที่ระลึกต่างๆแล้ว ยังมีโอกาสได้เห็นการแสดงของศิลปินข้างถนนซึ่งส่วนมากจะเป็นการเล่นดนตรี ซึ่งมีทั้งดนตรีพื้นบ้าน ดนตรีจากคนตาบอด รวมถึงศิลปินวัยรุ่นที่มาเล่นเพลงต่างๆ ยิ่งถ้าช่วงหน้าหนาวการมาเดินเล่นบนถนนคนเดินเชียงใหม่วัวลายจะได้บรรยากาศ เมืองเหนือมากยิ่งขึ้นไปอีก


- กาดต้อนกอง

มีทุกวันเสาร์ช่วงเช้า ณ ชุมชนสันทรายต้นกอก ตำบลฟ้าฮ่าม มีสินค้าพื้นเมือง อาหารพื้นเมือง ผักปลอดสารพิษ ไม้ดอกไม้ประดับให้เลือกซื้อหากันได้ นอกจากนี้สามารถชมสาธิตวิธีการเลี้ยงนกกระทา และการแสดงทางวัฒนธรรมของชุมชน โดยเยาวชนท้องถิ่น กลุ่มเกษตรกร เช่น การปลูกผัก กลุ่มหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น กลองโบราณและ การล่องเรือชมวิถีชีวิตริมแม่น้ำปิงได้อีกด้วย “กาดต้อนกอง” เป็นรูปแบบการค้าขายสินค้าภายในชุมชนของชาวล้านนาในอดีต ที่มีพ่อค้าแม่ค้าหาบของเดินเข้ามาขายภายในหมู่บ้านก็จะพากันดักซื้อเป็นจุด ๆ เรียกว่า “ต้อนกอง” เพื่อให้คนได้ซื้อหาสินค้า และส่วนใหญ่พ่อค้าแม่ค้าก็จะอาศัยจุดพักที่หน้าวัดเป็นที่พักระหว่างการเดินทาง ภายหลังจึงก่อกำเนิดเป็นตลาดชุมชนขึ้นและได้พัฒนาขึ้นเป็น “กาดก้อม” หรือ “กาดต้อนกอง” กาดต้อนกอง ณ หมู่บ้านสันทรายต้นกอก หมู่ ๗ ตำบลฟ้าฮ่าม อำเภอเมือง เชียงใหม่ หมู่บ้านสันทรายต้นกอกตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อประมาณ 200 ปี มาแล้วโดยราษฎรที่เข้าอาศัยกลุ่มแรกเป็นเชื้อสายเจ้าคุ้มเวียงเชียงใหม่และชาวพื้นเมืองซึ่งเป็นชาวเขินได้อพยพมาจากบ้านเมืองลัง และบ้านหนองไคร้ มาตั้งถิ่นฐานอยู่ ณ บริเวณโดยรอบที่ตั้งของหมู่บ้านในปัจจุบัน และราษฎรเหล่านี้มีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก จึงได้ร่วมกันจัดหาที่ดินและร่วมกันก่อสร้างวัดขึ้นมาเพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ

- ถนนคนเดินสายหัตถกรรมสันกำแพง

เลือก ชม เลือกซื้อสินค้าหัตถกรรมของกินของฝาก ของที่ระลึก และรับชมการแสดงดนตรีโบราณของสันกำแพง ทุกวันเสาร์เวลา 15.00-22.00 น. ถนนคนเดินยางเนิ้ง อำเภอสารภี บริเวณถนนสายต้นยาง เส้นทางเชื่อมลำพูนเชียงใหม่ จัดขึ้นทุกวันเสาร์เวลาประมาณ 17.00 น. เป็นต้นไป จำหน่ายสินค้าการเกษตร อาทิ ผักปลอดสารพิษ ผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ประเภทเซรามิก เครื่องจักสาน เครื่องปั้นดินเผา ตลอดจนเสื้อผ้าสำเร็จรูป ขนม และเครื่องใช้ในครัวเรือน ถนนคนเดินสายนี้ได้จัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ มีการจัดทางลาดและทางเดินเชื่อมส่วนใหญ่ราบเสมอกันทำให้คนที่ใช้ Wheel Chair สามารถเข้าถึงได้โดยตลอดอีกด้วย

วันอาทิตย์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2550

Field Trip to Phuket Zoo

Field Trip to Phuket Zoo


For their second field trip of the term, on Thursday the students of Primary 3 at my school visited the Phuket Zoo. Instead of spending much time viewing the animals in their cages and other enclosure, most of our day out involved sitting through the various shows (crocodile, elephant, and monkey) in which the handlers subject the animals to what I consider to be humiliating acts for the benefit of the tourists. Most of the animals are obviously drugged and some just look sad. But the kids enjoyed it, particularly since Teacher Mark let them take photos with his camera (resulting in relatively few unusable photos).


Aside from the staged shows, we also checked out the small but thankfully air-conditioned aquarium (entered through the jaws of a concrete crocodile) and fed bananas to the elephants. Between shows, the students purchased an endless variety of snacks from the many food stalls (and yet they still clamored to go on their final snack break upon returning to school). A group of girls from my class took turns holding onto my hands as they dragged me from placed to place (I seemed to be the popular teacher of the day).

These girls all wanted to try their hands at using my camera and this resulting in some really interesting photos (a couple really have a good eye; one girl, in particular, would spend quite a while composing her shots and using the zoom quite effectively). This was difficult for me at first as I like to have my camera in-hand at all times so when I spy a photo I’d like I can snap it off quickly. I insisted that they use the wrist strap so they wouldn’t drop the camera and wished I’d purchased protector sheets to keep little fingerprints off of the large view screen but I was glad I gave them the opportunity. I decided that I wouldn’t delete any of the kids’ photos and, combined with the 30 or so that my Thai teacher shot with the school’s camera, we have almost 200 pictures in our file for this field trip.

The students were somewhat disappointed that they didn’t bring enough money to have their pictures taken with the tiger or orangutan (200 baht per photo) or to buy many souvenirs in the shop (”Teacher Mark, why is everything so expensive at the zoo?” many kids asked me). On my last visit, I had thought the zoo was one of the worst I’d ever visited with unkempt cages, murky water in the ponds and aquarium (you couldn’t even see the fish!), and cobwebs everywhere. It seems to have been cleaned up somewhat since that time (over a year ago) but is still a bit rundown and depressing. My only real regret, however, was that we weren’t able to visit the orchid garden (next time…).

After a boxed lunch of rice and vegetables (eaten near the billy goat pen which was very, shall we say, aromatic) we boarded the fleet of minibuses for the short trip back to school. The students then had to fill out their “field trip report” booklets which include such questions as “write about and draw your favorite thing about the trip” and “what did you learn today?” I was touched that several kids’ favorite thing was “using Teacher Mark’s camera.” The majority wrote that they learned animals shouldn’t be kept in cages, that it was better for them to be left in their natural habitats.
The day left the teachers exhausted (but the kids seemed to have even more energy when we returned to school — I can never understand why they rarely seem to get tired) but I did enjoy it and look forward to the next field trip.

แปลเอกสารด่วนเชียงใหม่่

Loy Krathong

Loy Krathong

dsc01534 (medium)Loy Krathong (ลอยกระทง) is considered to be one of the most beautiful and popular festivals in Thailand, taking place on the full moon of the 12th month in the traditional Thai lunar calendar. This year, that translates to this Saturday — 24 November. This time of year (usually) has fine weather as the rainy season has ended and there are high water levels throughout the country.

The floating of a krathong — a small boat made usually of banana leaf and containing a flower, a candle, and three lighted incense sticks — is intended to float away ill fortune as well as to express apologies to Khongkha or Ganga, the River Goddess. Government offices and large companies build much bigger and more elaborate boats which are then judged in contests.

dsc01536 (medium)
Also during Loy Krathong, numerous beauty pageants are held to honor Noppomas, who was a consort of the Sukothai king Loethai in the 14th century. According to legend, she was the first to float decorated krathongs. The festival itself is Brahmin in origin. In 1863, HRH King Mongkut (Rama IV) wrote an interesting account about the first Loy Krathong Festival.

When floating a krathong, people make a wish as they set it in the water. It is believed that if the candle remains burning until the krathong is out of sight then their wish will come true. By the end of the evening, there are hundreds of flickering lights bobbing up and down on the numerous waterways of Thailand.

This Friday, our school will hold it’s Loy Krathong activity. Teachers, as well as the students, are to dress in simple Thai costumes and everyone will spend the afternoon making their own krathongs using natural, environmentally-friendly materials (no styrofoam allowed). After a competition to judge the most beautiful krathongs, we will proceed to the paddling pool in order to float the boats. It promises to be a most colorful day! I plan to make an extra krathong to float on Saturday evening.

dsc01535 (medium)
Last year was my first experience with this particular Thai holiday and I had a wonderful time, despite heavy downpours most of the actual Krathong Day evening. My wife had purchased several cases of beer to sell on the beach in Patong, along with a number of krathongs donated by various friends. It was so rainy that there was a severe lack of customers; she and her friends ended up drinking most of the beer themselves. There was a fair on Bangla Road (including Miss Bar Girl and Lady Boy contests in addition to the Noppamas Queen pageants) .

But the best event we attended was a three-night Loy Krathong Festival at the lake in the northern part of Karon. We went two of the three nights and literally danced until dawn (they had one of those 20-baht-per-dance stage setups). Our “second daughter” Nadia was still staying with us; she and I floated a krathong together but the candle was so waterlogged that we couldn’t get it lit at all (so, I suppose that would explain any bad luck we’ve had over the past year). There were fireworks off-and-on each night and we also lit and sent up one of those paper lanterns the Thais insist are hot-air balloons (coming from Albuquerque — the ballooning capital of the world — I beg to differ). Another good friend, Opat, was also there to dance with us. It will be different this year with our son and Tim’s brother (Nadia is currently in Hollywood and I believe Opat is in Krabi now) but I’m sure we’ll have a great time.

A Holiday on Koh Yah Noi

A Holiday on Koh Yah Noi


Lying midway between Phuket and Krabi Province, Koh Yao Yai and Koh Yao Noi are the largest of the islands in Phang Nga Bay comprising a total of 137 square kilometers. According to local legend the strait between the two islands was created when a very angry Naga (sea dragon) crashed through on its way to Krabi to see his fiancee being married to someone else.

A giant sea serpent had used its magical powers to help a woman give birth to a baby girl. In return, the Naga demanded that his son be allowed to marry the girl when she was of age. When the time came, however, the woman forgot her promise and arranged for her daughter to marry a local prince instead. Learning of the woman’s treachery, the sea dragon swam towards the Krabi shore in a rage splitting in half the largest island in the bay on his way. The pandemonium caused by the arrival of the Naga at the wedding ceremony disturbed a powerful hermit who was meditating in a nearby cabe. The hermit, who apparently had a low tolerance for noise, transformed the warring families and the sea serpent into the oddly shaped mountains that are now so prominent around the Phang Nga peninsula.

For centuries it has been believed that Koh Yao was populated by the Chao Leh (sea gypsies), nomadic groups who traveled from island to island for fish and other see food. There is also evidence that many early settlers migrated from Thailand’s southern provinces and from Malaysia.
The smaller of the islands, 50-square kilometer Koh Yao Noi, has seven villages with a total population of around 4500, ninety-nine percent of whom are Muslim. The largest settlement is Tha Khai, a subdistrict seat which contains a hospital, market, police station, and the only 7-Eleven of the 44-island archipelago. Hat Pa Sai and Hat Tha Khao are the best beaches (the local residents hope that the extreme low tides will continue to keep the large resorts so prominent on Phuket from developing there).
A visit to Koh Yao Noi is like stepping back in time to witness the Phuket of 20 or 30 years ago. Accommodation is still limited to simple bungalows and a few boutique-style resorts although Evason has recently opened a high-end resort on Koh Yao Yai (with prices topping out at USD $10,000 per night). There are a few tuk tuk’s and songtaews available to transport visitors and motorbike rentals can be had for 200 baht per day.

The main industries on Koh Yao Noi are fishing and rubber planting. Rice farming and a few coconut, palm, and fruit plantations are also evident. Boat building and farming techniques here have been passed from father to son and, while some of the youngsters leave Koh Yao to seek the bright lights of Phuket, most eventually return to their tight-knit community.

The best way to explore the island is by bicycle or motorbike. A narrow mostly-paved road winds its way around the periphery of the island and most locals walk or get around on their motorbikes. Cars and trucks are a rarity. As we traveled around on the Sunday of our three-day visit, I was struck most at how many people waved and smiled at us as we passed by.

We headed out from Baan Jochim about midday on the Saturday of the holiday weekend; it took us about 45 minutes to travel from our home in Chalong up to the Bang Rong pier out past Paklok on Phuket’s eastern shore. Our motorbike-sidecar secured at the pier we boarded the ferry that would take us over to Koh Yao Noi. The boat is actually a lontail boat with a flat-roofed cabin with space for approximately 50 passengers. Since many locals take day-trips into Phuket to purchase supplies, the roof was laden with everything from reams of copier paper and cartons of eggs to computer equipment. We threw our bags among the market purchases and settled down for the passage.
I would say around 70 people total had crammed onto the small ferry, along with four or five motorbikes lashed on the front desk and in the forward part of the cabin. One of these longtail ferries on the Phuket to Koh Yao run capsized last year because of a combination of overcrowding and high waves during rainy season so this was on my mind as we shoved off from the pier. There are now lifejackets provided but nobody seemed to pay much attention to them. Everyone on the boat was jovial and I had fun playing peek-a-boo with a Down’s Syndrome boy had befriended me.

The trip to the islands took a bit over an hour; our first stop was at Klong Hia Pier on Koh Yao Yai where several passengers and motorbikes were offloaded. Then, it was a short passage across the strait (passing a solitary rock which locals believe is a scale that fell off of the Naga as he sliced through the land) to Koh Yao Noi’s Manoh Pier. The voyage cost the three of us a total of 200 baht. A jeep from the bungalow was waiting for us and we enjoyed the 20-minute drive from the southern point of the island to our destination in the northeast.

We were given a family-size bungalow at Tha Khao Bungalows, just off of the beach. The view was magnificent and I fell in love with the Lanna-style teak bungalow. It had a large porch fronting the building where we were to spend hours relaxing and watching the sea towards the Krabi coastline. Inside contained a front room with double-bed plus three side rooms which we didn’t use. A large bathroom at the far end contained a small sink plus separate toilet (Western-style!) and large shower rooms. It was a real bargain at 1000-baht (approximately USD $30) per night.
During our stay, we took all of our meals at the Tha Khao Bungalows restaurant. Our first night, I had an excellent tom kha gai (coconut soup with chicken) that contained red peppers and chili instead of the usual mushrooms (which I don’t like). Breakfasts were pancakes (with pineapple one morning and bananas the next) topped with locally-made honey.

We spent most of our weekend (arrived Saturday afternoon, departed midday on Monday) at the bungalow or on the beach immediately in front of it. During the low tides, we walked out towards the nearby island Koh Nok and when the water was in on Sunday we paddled around in a rented kayak (200 baht per day). Other available activities include bird-watching, snorkeling, diving, rock climbing, or voyaging among the nearby islands by longtail boat.

I caught up on a lot of reading while my wife worked on a crochet handbag and our son played with toy dinosaurs or colored in a Thai-history coloring book (there wasn’t a television, thank goodness). We also spent a nice morning driving around the island on a motorbike (half-day rental was 100 baht). We turned in around 7:30 each evening (the light bulbs on the patio and in the main room were too dim to read by) and I woke up each morning shortly after six. Because of a typhoon coming in from Sumatra, it did rain both nights but this only served to clear the air and make it easier to sleep.
We returned to Phuket on Monday’s 11:00 ferry which started out in a downpour but the sun began to shine as we approached Bang Rong pier.
I must say it was the most relaxing journey I’ve made in Thailand thus far (I wasn’t sure this would be possible with Alex along; this was the first trip we’ve made together since he arrived shortly before Christmas last year). We had a great time and I felt like I experienced a bit of the “real Thailand” that I’ve been missing lately (Phuket tends to feel more like the West much of the time between my job and our shopping expeditions). I’m already planning a return visit for the Christmas/New Year’s holiday, possibly taking the ferry the rest of the way over to Krabi… แปลเอกสารเชียงใหม่

GOODNIGHT, PHUKET....HELLO, BAAN JOCHIM


As I am no longer actively maintaining this blog, please direct your bookmarks to Baan Jochim Phuket. This is an alternate blog I created in late May when the government of Thailand was blocking the entire Blogspot domain.

Initially, I used the Wordpress-hosted blog to reprint interesting news items concerning Thailand or Southeast Asia in general with occasional entries relating to Thai history, culture, and holidays. But lately it has developed into a complete replacement for Goodnight Phuket.

Of course all of my previous entries here will remain available in the Archives. And, should there be another sweeping blockage of Wordpress that lasts more than a couple of days, I will post here once again (currently, my ISP -- TOT -- tries to blog the domain but it's haphazard at best).

I hope to see most of you over at Baan Jochim Phuket.
Baan Jochim Phuket

Phuket Travel Guide




Patong Beach (Thai หาดป่าตอง) is a beach on Phuket's west coast, and to the town adjoining it. It is the main tourist resort in Phuket. It also contains an important centre of Phuket's nightlife and is the centre of cheap shopping on the island. The beach became popular with western tourists, especially Europeans, in the late 1980s. Numerous large hotels and chain hotels are located in Patong.

Patong Beach is more famous for its nightlife than the 2-kilometer beach that runs the entire length of Patong Town’s western side. Nightlife is centered on two main areas Bangla Road and Paradise Complex, with Bangla Road being predominantly straight and Paradise Complex being predominantly gay. Much mixing of the two scenes occurs due to Phuket Island’s tolerant nature, with Kathoey present on Bangla Road.

On December 26, 2004, Patong Beach along with many other areas along the western coast of Phuket and Thailand were struck by a tsunami caused by the 2004 Indian Ocean earthquake. The wave caused a great deal of destruction to the waterfront of the beach and immediately inland, and many people were killed there. Patong was one of the worst affected areas of Phuket, although the destruction was not nearly as bad as nearby in Khao Lak.